2. พื้นฐานทางด้านจิตวิทยา
ในการจัดทําหลักสูตรนั้นนักพัฒนาหลักสูตรต้องคํานึงอยู่เสมอว่าต้องพยายามจัดหลักสูตรให้สนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนอย่างแท้จริง
ด้วยการศึกษาข้อมูล พื้นฐานเกี่ยวกบตัวผู้เรียนว่าผู้เรียนเป็นใคร
มีความต้องการและความสนใจอะไร มีพฤติกรรมอย่างไร
ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับจิตวิทยาทั้งสิ้น ดังนั้นข้อมูลพื้นฐานทางด้านจิตวิทยาจึงเป็นส่วนสําคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรจะละเลยมิได้ในการนํามาวางรากฐานหลักสูตร
เช่น การกําหนดจุดมุ่งหมายหลักสูตร การกําหนดเนื้อหาวิชา และการจัดการเรียนรู้
2.
การเรียนรู้ (learning) เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจาก ประสบการณ์
การเรียนรู้อาจเกิดขึ้นด้วยการจูงใจ
หรืออาจเกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจก็ได้พัฒนาการและการเจริญเติบโตของมนุษย์ แบ่งออกเป็น
2 ด้าน คือ
1.
พัฒนาการทางด้านร่างกาย (physical
development) เป็นการเปลี่ยนแปลงในด้านโครงสร้างทั้งขนาดรูปร่าง
และการทํางานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย
2.
พัฒนาการทางด้านสติปิญญา (mental
development) เป็นความเจริญงอกงามที่บ่งบอกถึงการเพิ่มพูนความ
สามารถในประกอบกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ และรวบรวมความรู้ความเข้าใจไว้เป็นหมวดหมู่
เป็นพัฒนาการทางด้านความคิด ความจํา และความเข้าใจ
2.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (humanist theory) หรือกลุ่มแรงจูงใจ
(motivation theory)
3.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (behaviorist theory)
1.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มความรู้นิยมหรือปัญญานิยม (cognitivist
theory)
2.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (humanist theory) หรือกลุ่มแรงจูงใจ
(motivation theory)
ตลอดจนความมีอิสรภาพการที่
บุคคลได้มีโอกาสเลือก การกําหนดด้วยตนเอง (self determinism) และการเจริญงอกงามส่วนตน (growth) ซึ่งลักษณะของการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มนี้จะเน้นที่เด็กเป็นศูนย์กลาง
(child - centered) นักจิตวิทยากลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไป
ซึ่งมีอิทธิพลในการจัดการเรียนรู้คือโรเจอร์(Rogers) และมาสโลว์
(Maslow)
3.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (behaviorist theory)
นักจิตวิทยากลุ่มนี้เน้นที่การศึกษาพฤติกรรมของบุคคลที่สามรรถสังเกตเห็นได้เป็นหลัก
โดยมีความเชื่อว่าปัจจัยหลักที่มีผลต่อพฤติกรมของมนุษย์นั้นน่าจะมาจากสิ่งเร้าในสภาพแวดล้อม
นั่นคือ
ถ้าครูสามารถจัดสิ่งเร้าในสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมแล้วก็จะสามารถทําให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยมที่มีการกล่าวถึงเสมอคือ วัตสัน (Watson) กาเย่ (Gagne) สกินเนอร์ (Skinner) พาฟลอฟ (Parlor) ธอนร์นไดค์(Thorndike)และกัททรี (Guthrie)
- หลักสูตรจะต้องคํานึงถึงการฝึกหัด
เพราะเป็นการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการแก้ปัญหา
การค้นคว้า และวิธีการอื่นๆ ที่ส่งเสริมการหยั่งรู้
- หลักสูตรควรมีความยืดหยุ่น
โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนบางรายวิชา ตามความถนัดและความสนใจ
- การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมให้มีสถานที่เป็นแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้
2. เจตคติ (attitude) หมายถึง ท่าทีที่บุคคลมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะสังเกตได้จากการแสดงออก
ท่าทาง คําพูด
3. แรงจูงใจ
(motive) และการจูงใจ (motivation) แรงจูงใจช่วยส่งเสริมให้ทํางาน
จนสําเร็จ และนําพฤติกรรมของตนไปให้ตรงทิศทาง
ส่วนการจูงใจกับวิธีการชักจูงให้บุคคลกระทําอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ผู้ชักจูงต้องการ
4.
การถ่ายโยงการเรียนรู้ (transfer
of learning) เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่นําไปสู่การเรียนรู้สิ่งใหม่
ๆ และนําผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน
การถ่ายโยงการเรียนรู้เกิดจากความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่เรียนมา
เจตคติที่จะรับรู้ต่อไปประกอบกับทักษะของการฝึกฝนสิ่งที่กําลัง
เรียนรู้อยู่จนเกิดความเข้าใจใหม่
5. การจํา
การลืม การคิด (memory,
forget, thinking) การจํา หมายถึง
ความสามารถทางสมองที่จะเก็บหรือคงที่สิ่งที่ได้เรียนรู้ไว้นานในช่วงเวลาที่ควรจํา
การลืม หมายถึง การไม่รักษาความจําไว้ได้ ซึ่งอาจเกิดได้ทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว
การคิด เป็นกระบวนการสร้างภาพให้ปรากฏขึ้นในสมอง
ซึ่งบางครั้งอาจต่อเนื่องมาจากความจําข้อมูลทางด้านจิตวิทยาทั่วไป
จะทําให้ได้แนวคิดในการจัดทําหลักสูตรที่เหมาะสม กับ ผู้เรียน เช่น
การกําหนดเนื้อหาในวิชาทักษะต้องยึดหลักความพร้อม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น